โค้ดวิ่ง

ยินดีต้อนรับสู่เว็บบล็อก ผลงานของ นางสาว พรพนา เสือรัก ได้เลยคะ แง่มแง่ม-.-

วันเสาร์ที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2559

การรักษาดุลยภาพของสัตว์


               ปลาน้ำจืด จึงพยายามไม่ดื่มน้ำและไม่ให้น้ำซึมเข้าทางผิวหนังหรือเกล็ด แต่ปลายังมีบริเซณที่น้ำสามารถ ซึมเข้า ไปได้ คือ บริเวณเหงือกซึ่งสัมผัสกับน้ำตลอดเวลา ดังนั้นปลาจึงต้องขับน้ำออกทางไตเป็นน้ำปัสสาวะ ซึ่งเจือจาง และมี ปริมาณมอ่านเพิ่มเติม

กลไกการรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย
                     สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีกลไกบางอย่างในการรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ในสภาวะที่เหมาะสม สำหรับสัตว์เลือดเย็น เช่นพวกปลา สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำนั้นมีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของร่างกายไปตามสิ่งแวดล้อม ทว่าก็มีขีดจำกัด ถ้าไม่สามารถปอ่านเพิ่มเติม

กลไกการรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช
               กลไกสำคัญในการรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช คือ ควบคุมสมดุลระหว่างการคายน้ำผ่านปากใบและการดูดน้ำที่ราก ถ้าคายน้ำมากก็ต้องดูดน้ำเข้าทางรากมากเช่นกัน ส่วนมากจะคายน้ำที่ปากใบ
การคายน้ำทางปากใบ เรียกว่า สโตมาทอล ทรานสอ่านเพิ่มเติม



 การเคลื่อนที่แบบเอนโดไซโทซิส

              เป็นการลําเลียงสารตรงกันข้ามกับ เอกโซไซโทซิส คือ เป็น 
การลำเลียงสารขนาดใหญ่ เข้าสู่เซลล์ เอนโดไซโทซิสในสิ่งมีชีวิต มีชื่อเรียก
แตกต่างกันไปตามกลไกการลำเลียง  เช่น ฟาโกไซโทซิส (phagocytosis)
 พิโนไซโทอ่านเพิ่มเติม

การเคลื่อนที่แบบเอกโซไซโทซิส

               เอกโซไซโทซิส  เป็นการลำเลียงสารโมเลกุลขนาดใหญ่ออกจากเซลล์  สารที่จะลำเลียงออก  เช่น  พวกเอนไซม์ หรือฮอร์โมน  จะถูกสังเคราะห์ขึ้นจากเอนโดพลาสมิก  เรติคูลัมชนิดผิวขรุขระ  (rough endoplasmic reticulum)  ซึ่งเป็นเอนโดพลาสมิก เรติคลัมที่มีไรอ่านเพิ่มเติม

การเคลื่อนที่ของสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์

              การลำเลียงสารโดยไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ คือการลำเลียงสารโมเลกุลใหญ่เข้าหรือออกจากเซลล์  ซึ่งสารโมเลกุลใหญ่ไม่สามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ หรือโปรตีนในเยื่อหุ้มเซลล์ได้โดยตรง จึงไม่สามารถใช้กระบวนการแพร่แบบฟาซิลิเทตและการลำเลียงแบบใช้พลังงานได้ เซลล์สามารถลำเลียงสารเหล่านี้ได้ด้วยกลไกการลำเลียง โดยการสร้างเวสิเอ่านเพิ่มเติม


การเคลื่อนที่ของสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
การเคลื่อนที่ของสารละลายที่มีความเข้มข้นต่ำ(น้ำมาก)ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารละลายสูง (น้ำน้อย)  โดยผ่านเยื่อเลือกผ่านจนกระทั่งถึงจุดสมดุลเมื่ออัตราการเคลื่อนที่ของนํ้าผ่านเยื่อเลือกผ่านไป และกลับมีค่าเท่า ๆ กันซึ่งการออสโมซิสอาจถือได้ว่าเป็นกอ่านเพิ่มเติม

การลำเลียงสารผ่านเซลล์

    แพร่ (Diffusion) เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลหรือไอออนของสารจากบริเวณที่มีโมเลกุลหรือไอออน ของสารหนาแน่นมากไปยังบริเวณที่มีโมเลกุลหรือไอออนของสารหนาแน่นน้อยกว่าโดยการเคลื่อนที่นั้นจะอาศัยพลังงานจลน์ในโมเลกุลหรือไอออนของสารนั้น สารที่มีการแพร่อาจอยู่ในสถอ่านเพิ่มเติม

 โครงสร้างและองค์ประกอบสำคัญของเซลล์

            ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตประกอบด้วยน้ำมากที่สุดถึงร้อยละ 75-85 โปรตีนร้อยละ 10-20 ไขมันร้อยละ 2- 3 คาร์โบไฮเดรตร้อยละ 1 และ สารละลายอนินทรีย์ร้อยละ 1 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดแม้จะมีขนาดและรูปร่างแตกต่างกัน แต่จะมีองค์ประกอบพื้นฐานภายในเซลล์ที่คล้ายคลึงกัน องค์ประกอบภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิอ่านเพิ่มเติม